แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
รายวิชา
สค 22001 ทรัพยากรของประเทศต่าง ๆ
ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
ครั้งที่
……1….. เรื่อง ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ตัวชี้วัด
อธิบายข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่สำคัญ
ๆ ของประเทศต่าง ๆ
ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
มาตรฐานการเรียนรู้
มีความรู้
ความเข้าใจตระหนัก เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
การเมืองการปกครองในทวีปเอเชีย และนำมาปรับใช้ในการดำเนินชิวิต
เพื่อความมั่นคงของชาติ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติได้
เนื้อหา
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
ระยะเวลา
|
|
บทบาทครู
|
บทบาทผู้เรียน
|
||
ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
|
ขั้นวางแผน
(P)
1. ครูจัดเตรียมใบความรู้เรื่อง
ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1.ครูทบทวนเนื้อหาเมื่อสัปดาห์ก่อนและติดตามงานที่มอบหมาย
2.ครูและผู้เรียนร่วมกันสนทนาในเรื่องความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
พร้อมทั้งสรุปเนื้อหาร่วมกัน
ขั้นดำเนินการ (D)
1.
ครูอธิบาย เรื่องความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และทำความเข้าใจไปพร้อม
ๆ กัน ร่วมกันสรุป
2.
ครูแจกใบความรู้และใบงานแบ่งกลุ่มผู้เรียนศึกษาตามใบความรู้
และทำใบงาน
-
ความหมายและความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
3.
ครูให้ผู้เรียนสรุปเนื้อหาร่วมกัน
ขั้นสรุป
1.ครูและนักศึกษาร่วมกันสรุปเนื้อหาบทเรียนร่วมกัน
2.ครูให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
ร่วมกันเฉลย
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
(กรต.)
1
ครูมอบหมายงานกรต.ให้ผู้เรียน
ไปศึกษาค้นคว้า
ดังหัวข้อต่อไปนี้
- ประเทศไทย
-
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
-
ราชอาณาจักรกัมพูชา
-
สหภาพพม่า
-
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
|
1.
ผู้เรียนเตรียมส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2.
ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
3.
ผู้เรียนร่วมกันศึกษาใบความรู้และสรุปเนื้อหาสำคัญไว้ในสมุดบันทึกการเรียนรู้
4. ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
5.
ผู้เรียนทำแบบทดสอบตามที่ได้รับมอบหมายและร่วมเฉลยคำตอบ
6. ผู้เรียนจดบันทึกหัวข้องานที่ได้รับมอบหมายเพื่อไปศึกษาค้นคว้า
และนำข้อมูลที่ได้ไปเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน นำเสนอในการพบกลุ่มครั้งต่อไป
|
13 ชั่วโมง
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-
ใบความรู้
- แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
- ใบงาน
- แบบทดสอบ
การวัดและประเมินผล
-
การมีส่วนร่วม
- การตอบคำถาม
- การสังเกต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น