วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2558

แผนการจัดการเรียนการสอน วันที่ 13 ธ.ค.58 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


แผนการจัดการเรียนรายสัปดาห์วิชาเลือก 
รายวิชาวิสาหกิจชุมชน (ทช02002) ระดับ ม.ปลาย  

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัด
ประเมินผล
1
การก้าวเข้าสู่วิสาหกิจชุมชน
ประยุกต์ใช้กระบวนการวิสาหกิจชุมชนให้เกิดประยุกต์กับตนเองได้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพียง
องค์ความรู้การดำเนินงานของวิสาหกิจของชุมชมกับตนเอง
-การศึกษากระบวนการวิสาหกิจชุมชน
-การวิเคราะห์องค์ความรู้
-แนวทางการประยุกต์ใช้กระบวนการวิสาหกิจชุมชนให้เกิดประโยชน์กับตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)
1. ครูและผู้เรียนร่วมกับสนทนาโดยครูได้ตั้งประเด็นคำถามถึงเรื่องการก้าวเข้า สู่วิสาหกิจชุมชนร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)
1. ครูให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มให้ทำใบงานในหัวเรื่องการก้าวเข้าสู่วิสาหกิจชุมชน
2. ครูให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากหนังสือแบบเรียนและจากใบความรู้
3. ส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
4. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันในแต่ละหัวข้อ
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
ครูให้ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์วางแผนปฏิบัติการในการก้าวเข้าสู่วิสาหกิจชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัด
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายกรต. การพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
1.หนังสือแบบเรียน
2. ใบงาน/ใบความรู้
3. แบบฝึกหัด
1.แบบบันทึกการเรียนรู้
2.แบบฝึกหัด
3.ผลการตรวจใบงาน
3. การสังเกต
4. การมีส่วนร่วม



แผนการเรียนรู้/แบบกลุ่ม รายวิชา  ทช31002 สุขศึกษา พลศึกษา
จำนวน 3 หน่วยกิต(120 ชั่วโมง)    ระดับ   มัธยมศึกษาตอนปลาย
สัปดาห์ที่    2        เรื่อง      เรื่องอาหารและ โภชนาการ
ตัวชี้วัด   
        1.อธิบายปัญหา สาเหตุ อาการ และการป้องกันโรค
       2.บอกหลักการ และปฎิบัติตนตามหลักสุขภิบาลอาหารได้อย่างเหมาะสม
       3.จัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสำหรับครอบครัว ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย
 มาตรฐานการเรียนรู้
รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม เจตคติที่ดี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเองและครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัยและพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ดี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
      1.รู้ และเข้าใจถึงหลักอาหารและโภชนาการที่จำเป็น และมีประโยชน์ต่อร่างกาย
     2.สามารเลือกบริโภคอาหาร และโภชนาการที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้อย่างถุกต้อง

เนื้อหา
กิจกรรมการเรียนรู้

ระยะเวลา
บทบาทครู
บทบาทผู้เรียน
1.โรคขาดสารอาหารได้แก่ โรคลักปิดลักเปิด โรคคอหอยพอก โรคเอ๋อ โรคตาฟาง โรคโลหิตจาง
ฯลฯ
2.หลักการสุขาภิบาลอาหาร
-การปนเปื้อน
-การปรุงและจำหน่าย
-ผู้ประกอบการ จำหน่ายอาหาร
-สุขลักษณะทั่วไปบริเวณแผงจำหน่าย
-สุขลักษณะอาหารถุง
ฯลฯ
 3.การจัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลกลุ่มต่างๆ
-ตนเองและครอบครัว
-ผู้สูงอายุ
-ผู้ป่วย
ฯลฯ


กิจกรรมการเรียนรู้
1.กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน ( 5 – 10 นาที ) โดยผู้สอนพูดคุยกับผู้เรียนถึงการรับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาก่อนมาเรียน
 2.ทบทวน กรต. ( 20 นาที ) โดยผู้สอนพูดคุยกับหัวข้อสาระการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนไป ทำกรต.มา และให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปสาระสำคัญในแต่ละหัวข้อ ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมกรณีที่มีข้อสงสัยจากผู้เรียน
3.กิจกรรมการเรียนรู้  โดยผู้สอนชี้แจงสาระการเรียนรู้และผลการาเรียนรู้ที่คาดหวังของการพบกลุ่มครั้งที่ 2
4.แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 6 – 8 คน โดยคนเพศละวัย ให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกประธาน เลขาฯ และผู้สังเกตการณ์
5.ผู้สอนแจกใบงานให้แต่ละกลุ่มศึกษาประเด็น ตามใบงานกลุ่มละ 5 นาที โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ในศูนย์การเรียนชุมชน และสรุปประเด็น ของกลุ่ม
7.การสรุปบทเรียน ให้ผู้เรียนช่วยสรุปบทเรียนเกี่ยวกับ
8.ผู้สอนยกตัวอย่าง
10.ผู้เรียนผู้สอนช่วยกันสรุปข้อดีของการวางชีวิตและการวางแผนครอบครัวรวมทั้งข้อเสียของการไม่วางแผนชีวิตและครอบครัว
11.การมอบหมาย กรต. ให้ผู้เรียนวางแผนการร่วมกลุ่มเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย เล่นกีฬา บำเพ็ญประโยชน์และ นันทนาการ
12.ทดสอบย่อยและการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้
1.ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าตามสาระการเรียนรู้ที่กำหนดจากเอกสารคู่มือเรียน บทความในวารสารสุขภาพ จากห้องสมุดประชาชน/ห้องสมุดโรงเรียน/ศูนย์การเรียนชุมชน ฯลฯ
2.ผู้เรียนสรุปประเด็น/สาระสำคัญ จัดทำเป็นรายงานสรุปความยาวไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ A4 ส่งให้ผู้สอน
3.ผู้เรียนเตรียมประเด็นคำถามที่ต้องการให้ผู้สอนแนะนำเพิ่มเติมหรือต้องการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในกลุ่ม เพื่อนำเสนอในระหว่างการพบกลุ่ม








































































สื่อ/อุปกรณ์การเรียนรู้
      1.หนังสือพิมพ์
       2.แบบเรียน
      3.วารสารใกล้หมอ/หมอชาวบ้าน
      4.บทความในวารสารต่างๆ
      5.ใบงาน
      6.กระดาษปรุ๊ฟ/กระดาษ A4
      7.ปากกาเมจิก
การวัดผล/ประเมินผล
       การสังเกต
       กระบวนการกลุ่ม
       การมีส่วนร่วม
       ผลงาน/ชิ้นงาน
       แบบฝึกหัด 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น